ในวันที่ป่วยเป็น โรคซึมเศร้า

ในวันที่ป่วยเป็น โรคซึมเศร้า

Share : facebook share line share.png twitter share messenger share

บทความ แมนเนเจอร์

ในวันที่ป่วยเป็น โรคซึมเศร้า



ผู้ป่วย ควรมีผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด สำหรับช่วยออกความคิดเห็น หรือ รับฟังปัญหาต่างๆ  ที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ถามไถ่ คอยเป็นที่ปรึกษา เป็นเพื่อน บรรเทาอาการความรู้สึกที่ว่า ผู้ป่วยอยู่ตัวคนเดียว บนโลกใบนี้

 

การดูแลรักษา โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )

     โรคซึมเศร้า ( Depressive episode ) การรักษาด้วยยา และ การฟื้นฟูสภาพจิตใจ โดยในแต่ละคน จะใช้การรักษาต่างกัน เพราะต้องดูอาการแต่ละคนอย่างต่อเนื่อง เพื่อการรักษาตรงปัญหา และ เยียวยาจิตใจไปพร้อมๆกัน การรักษาด้วยการทานยา จะช่วยบรรเทาอาการในด้านของโรค อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้น ขณะเดียวกัน การฟื้นฟู หรือ เยียวยาสภาพจิตใจนั้น เปรียบเสมือนการสร้างภูมิคุ้มกัน ที่ดี ที่แข็งแรงมากขึ้นกว่าที่เป็นมานั่นเอง

 

วิธีรักษา โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )

1. การรักษาทางจิตใจ ของผู้ป่วย โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )

    การ พูดคุย เป็นอีกหนึ่งวิธี ที่ช่วยบรรเทาอาการซึมเศร้าที่เกิดขึ้น จากจิตใจของผู้ป่วยได้ โดยการพูดคุย สามารถข้อคำปรึกษาได้จาก แพทย์ ที่มีความเชี่ยวชาญ ด้านจิตแพทย์โดยเฉพาะ เข้ารับการรักษาผ่านการพูดคุย 10 - 20 ครั้ง การพูดคุย ถึงสาเหตุ หรือ ปัญหาที่อยู่ภายในจิตใจของผู้ป่วย จิตแพทย์จะได้ทำการแก้ไขปัญหา

 

     เมื่อผู้ป่วยเปิดใจรับให้คำปรึกษาจากจิตแพทย์ แสดงให้เห็นถึงความเปิดกว้างทางจิตใจ อารมณ์ ความรู้สึก การรักษาทางพฤติกรรมจะช่วยให้ผู้ป่วย เรียนรู้วิธีที่จะได้รับความพอใจ หรือ ความสุขจากการกระทำของเขา และ พบวิธีที่จะหยุดพฤติกรรมที่ อาจนำไปสู่ความซึมเศร้าด้วย

 

     การรักษาแบบปรับความคิด พฤติกรรม และ การรักษาแบบปรับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล  เริ่มต้นด้วยการรักษาเข้าถึงปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างผู้ป่วย กับ คนรอบข้าง คนใกล้ตัว มองให้ลึกถึงสาเหตุที่แท้จริงของผู้ป่วย ว่ามีปัจจัยใดบ้าง ที่เป็นสาเหตุ หรือ เป็นตัวกระตุ้นความซมเศร้าที่เกิดขึ้นภายในจิตใจ  ส่วนการรักษาแบบหลังจะช่วยให้ผู้ป่วยเปลี่ยนความคิด และพฤติกรรมในแง่ลบกับตนเอง

 

     ส่วนการรักษาโดยใช้ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ เป็นการช่วยเหลือผู้ป่วย ในด้านของการ ค้นหาปัญหา ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของผู้ป่วย โรคซึมเศร้า ( Depressive episode ) เอง ซึ่งปัญหาเหล่านี้ อาจสะสมมาตั้งแต่อดีต หรือ ในช่วงวัยเด็ก  โดยทั่วไปสำหรับผู้ป่วยที่เป็น โรคซึมเศร้ารุนแรง มีอาการกำเริบซ้ำๆ ได้รับการรักษาด้วยยา บวกกับ การรักษาทางจิตใจ ควบคู่ไปพร้อมๆ กัน เพื่อการวัดผลการรักษา ในระยะยาว

 

2. รักษา โรคซึมเศร้า ( Depressive episode ) ด้วย ยา

กลุ่ม tricyclic  ยาที่มีโครงสร้างทางเคมี 

กลุ่ม monoamine oxidase inhibitors ชื่อย่อว่า MAOI

กลุ่ม SSRI ( serotonin-specific reuptake inhibitor )

 

บรรเทาผลข้างเคียง หลังจากการ ทานยา โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )

โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )    ปากแห้ง คอแห้ง - ดื่มน้ำบ่อย เคี้ยวหมากฝรั่งที่ไม่มีน้ำตาล 

โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )    ท้องผูก - กินอาหารที่มีไฟเบอร์สูง  มะละกอ ส้มโอ มะขาม และ มะนาว

โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )    ปัญหาการถ่ายปัสสาวะ - ปัญหาการถ่ายปัสสาวะ อาจจะลำบากมากขึ้น ติดขัด หรือ ปัสสาวะไม่พุ่ง อาจใช้มือกำหน้าท้องช่วย หรือ มือถูวนบริเวณหน้าท้อง

โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )     ตาพร่ามัว - อาการนี้ สามารถหายเองได้

โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )     ปัญหาทางเพศ - เกิดปัญหาระหว่างร่วมเพศ สามารถปรึกษาแพทย์ หรือ ผู้เชี่ยวชาญได้

โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )     หน้ามืด - อาการหน้ามืด เวียนศีรษะ บรรเทาอาการโดย ดื่มน้ำเปล่า หรือ น้ำหวาน แนะนำ น้ำหวานดอกมะพร้าว ตัวช่วยบบรรเทาอาการหน้ามืด วิงเวียน

โรคซึมเศร้า ( Depressive episode )     ง่วงนอน - เลี่ยงการขับรถ หลังจากทานยาตัวนี้เข้าไป อาจเกิดอุบัติเหตุ ถึงบาดเจ็บ และ เสียชีวิตได้ เพราะยาตัวนี้ ทำให้ง่วงซึม

 

     น้ำหวานดอกมะพร้าว สารสกัดความหวาน ที่ได้จาก มะพร้าว ความหวานจากธรรมชาติ ปลอดภัย เชื่อถือได้ 100 %  ดอกมะพร้าว ธรรมชาติของความหวาน ด้วยส่วนผสมที่ลงตัว อุดมไปด้วยแหล่งพลังงานที่ร่างกายต้องการ ไม่ว่าจะเป็น วิตามิน ซี วิตามิน บี1 เกลือแร่ และ กรดอะมิโน ซึ่งในเรื่องของการ ให้ความหวาน เทียบเท่ากับน้ำเชื่อม แบบปกติแน่นอน หวานพอดี แถมยังดีต่อสุขภาพอีกด้วย

 

อ่านบทความเพิ่มเติมได้ที่

ร่างกายต้องการอะไรจาก วิตามิน

ร่างกายรับรู้ถึงการดื่มน้ำที่ดีและปลอดภัย


บทความที่น่าสนใจ

ประโยชน์ของ “ช็อคโกแลต”

สารอาหาร ที่จำเป็นต่อพลังงานในร่างกาย